วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

-structure-

#include "stdio.h"
struct Customer
{
int day ;
int month;
int year;
}datee;
struct customer
{
char name [20];
char lastname[20];
char addr[50] ;
char sex[10] ;
int age;
}data;
void main()
{
printf("Enter Customer");
printf("Enter Name :");
scanf ("%s",&data.name );
printf("Enter lastname:");
scanf ("%s",&data.lastname);
printf ("Enter address :");
scanf ("%s",&data.addr);
printf("Enter sex:");
scanf("%s",&data.sex);
printf("Enter age:");
scanf("%d",&data.age);
printf("BirthDay dd/mm/yy :");
scanf("%d/%d/%d",&datee.day,&datee.month,&datee.year);
{
printf("\n\nName: %s\n",data.name);
printf("lastname: %s\n",data.lastname);
printf("adderss: %s\n",data.addr);
printf("sex: %s\n",data.sex);
printf("age: %d\n",data.age);
printf("birthday : %d-%d-%d",datee.day,datee.month,datee.year);
}
}


DTS : 02-01-07-2552

สรุปการเรียน Lecture 1 เรื่อง Introduction

1. ทราบถึงความหมายของข้อมูล

2. ทราบถึงประเภทของข้อมูล

3. ทราบถึงการแทนที่ข้อมูลในหน่วความจำหลักว่าในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะมีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักอยู่ 2 วิธี


ภาษาขั้นตอนวิธี (Algorithm Language)

เป็นภาษาสำหรับเขียนขั้นตอนวิธี มีรูปแบบที่สั้น กระชับแลรัดกุม และมีข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
1. ตัวแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษร หรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ คือวงเล็บ, ยกกำลัง , คูณหรือหาร, บวกหรือลบเครื่องหมายระดับความสำคัญเท่ากัน คำนวณจากซ้ายไปขวา
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือgoto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้ - แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือif (condition) then statement1 - แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือif (condition) then statement1 else statement 2
6. การทำงานแบบซ้ำ - แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้ while (condition) do statement - แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ for a=b to n by c do statement

DTS : 01-17-06-2552

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สรุปการเรียน Lecture 2 เรื่อง Array and Record

ทราบถึงการกำหนด Subscript แต่ละตัวจะกำหนดค่าสูงสุด และต่ำสุด ของSubscript นั้นการประกาศค่าตัวแปรอะเรย์ในภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษา ในการเรียนครั้งที่สองนี้ได้เรื่องของ Array and Record ได้ทราบถึงการทำงานของอะเรย์ 1 มิติและหลายมิติ รวมถึงการส่งค่าอะเรย์ในฟังก์ชั้นว่ามีกี่ลักษณะ และทราบถึงวิธีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ด ข้อมูล ยังทราบถึงการอ้างถึงตัวแปรที่อยู่ในตัวแปรชนิดโครงสร้าง ว่ามีกี่รูปแบบ และยังรู้ถึงการรวมตัวแปรของ Structure หลาย ๆ ตัวแปรไว้ในชื่ออ้างอิงร่วมกัน รวมถึงการส่งผ่าน Structure ให้กับฟังก์ชั้นต่าง ๆและอีกตัวคือ Pointer เป็นการทำหน้าที่เก็บตำแหน่งที่อยู่ ของตัวแปรในหน่วยความจำ

ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)

อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบdata-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์expression คือ นิพจน์จำนวน


DTS : 02-27-06-09

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว




ประวัติส่วนตัว

ชื่อ : สุกัญญา วาทีตรง


Name : Sukunya Wateetnong


รหัสนักศึกษา : 50152792054


กำลังศึกษา : การบริหารธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต



DTS:01-24-2552